![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEhz0c8vpAnn33fh9gBQeC6rTH1mDuZVCLXgsr_R-QEkJoT3spZsJwQ5iuHsUxZfH4Y3ImNxuqhwo9y03MWyhX79iUQn7fWZYbZqQI6fKMwjILsPq6wuYyQpXpjUpE1zM6vuIKpCldvh_4E/s320/time-line.gif)
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEjyDmH_wziGKcubHozXWYh_Mo5IYB9DmpFhawOUFlKI7kX-UjmdoLUP6s9bilPCEEPh6y4VuZzqTa0jRxPzHs5H95pjfUu5eJDMFBmtL0BlaUCaXHazrgqOeTY5rp3KFy3QXFfARq05ZCM/s320/chart1.jpg)
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiHSLZTLFR2Tgtwy88EWofyrwl7W8V_2PferKJb0pOq79JDkr-RcKtowQRcvgQWiML5yeGCKzxrVWKV2iA9jAoAlTbPrFutIiTdlVZ1rIdDjqMid_jFJNa9WJax0PoraSSdEABR_C8jbOs/s320/geological_time.jpg)
ธรณีกาล ตามความหมายทางธรณีวิทยานั้น เป็นชื่อเรียกของระยะช่วงเวลา ซึ่งได้แบ่งลงมาเป็น บรมยุค (Eon) มหายุค (Era) ยุค (Period) และสมัย (Epoch) ตามลำดับ
มาตราเวลาทางธรณีวิทยา ใช้โดยนักธรณีวิทยา หรือนักวิทยาศาสตร์สาขาอื่น เพื่ออธิบายเวลาที่จุดต่างๆ และอธิบายความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในอดีตของประวัติของโลก ตัวอย่างของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการกำหนดมาตราเวลาทางธรณีวิทยา มี International Commission on Stratigraphy กำหนดชื่อของเวลาและคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง (stratigraphy เป็นการศึกษาธรณีวิทยาในเรื่องชั้นต่างๆของโลก เช่นเปลือกโลก/ผิวโลกและชั้นอื่นๆใต้ผิวโลกลงไป), US Geological Survey กำหนดสีมาตราฐานของเวลาทางธรณีวิทยาที่ห้วงเวลาต่างๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น